ต้อนรับการเปิดรับความหลากหลายทางเพศมากขึ้น ด้วยการรวบรวมข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการกู้ซื้อบ้านสำหรับ LGBTQIAN+ โดยเฉพาะ ทั้งการเตรียมเอกสาร ธนาคารที่ปล่อยสินเชื่อเอื้อคนกู้บ้าน LGBTQIAN+ หรือแม้แต่การบริหารค่าใช้จ่ายหลังการกู้ แต่ก่อนจะไปศึกษาเรื่องการกู้ซื้อบ้านจัดสรร มาทำความเข้าใจคำจำกัดความของคำว่า LGBTQIAN+ กัน
L = Lesbian (กลุ่มหญิงรักหญิง)
G = Gay (กลุ่มชายรักชาย)
B = Bisexual (กลุ่มที่รักได้ทั้งชายและหญิง)
T = Transgender (กลุ่มข้ามเพศ จากชายเป็นหญิง และ หญิงเป็นชาย)
Q = Queer (กลุ่มที่พึงพอใจต่อเพศใดเพศหนึ่งโดยไม่จำกัดเพศ)
นอกจากคำจำกัดความข้างต้น ยังมีความหลากหลายทางเพศอื่นๆ อีก จึงทำให้เกิดการขยายคำใหม่ LGBTQIAN+ ขึ้น ซึ่ง I ย่อมาจาก Intersex ภาวะเพศกำกวม ส่วน A มาจาก 3 คำ Asexual กลุ่มคนที่ไม่รู้สึกดึงดูดทางเพศ กับผู้อื่น Aromantic กลุ่มคนที่ไม่มีแรงดึงดูดความโรแมนติก Agender กลุ่มคนที่ไม่ต้องการระบุเพศ และ Non-Binary กลุ่มคนที่ไม่คิดว่าตัวเองเป็นเพศชายหรือเพศหญิง ส่วน Plus (+) ยังมีความหลากหลายทางเพศอื่นๆ อีก ที่ไม่ได้ระบุคำจำกัดความ
ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป การเปิดกว้างต่อกลุ่ม LGBTQ หรือเรื่องเพศสภาพ เพศวิถีนั้นมีมากขึ้น รวมไปถึงการกู้ซื้อบ้าน ซึ่งวินาทีนี้กู้ได้ง่ายขึ้น ด้วย 3 วิธีดังต่อไปนี้
เอกสารการกู้บ้าน ของกลุ่ม LGBTQ อยู่ร่วมกัน กรณีกู้ร่วมเพศเดียวกัน เช่น บัญชีเงินฝากที่เปิดร่วมกัน บิลค่าใช้จ่ายที่ระบุที่อยู่เดียวกัน หรือธุรกิจที่จดทะเบียนร่วมกัน เป็นต้น
วิธีการกู้ร่วมซื้อบ้าน เป็นทางเลือกที่ดีต่อการกู้ซื้อบ้านกลุ่ม LGBTQช่วยให้อนุมัติการกู้ได้ง่ายขึ้น พร้อมเพิ่มความคล่องตัวทางด้านการเงิน โดยคู่รักกู้ร่วม LGBTQ สามารถเลือกใส่ชื่อในกรรมสิทธิ์ได้ทั้งแบบ 1 คน หรือ 2 คน ขึ้นอยู่กับธนาคารกำหนด
ปัจจุบันมีธนาคารหลายสถาบันจัดรูปแบบสินเชื่อเอื้อประโยชน์ต่อการกู้ซื้อบ้านแก่กลุ่ม LGBTQIAN+ โดยเฉพาะ ไม่ว่าจะเป็นธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารกสิกรไทย หรือธนาคารยูโอบี โดยให้วงเงินกู้สูงสุด 90-95% ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติผู้กู้ร่วมและความมั่นคงทางอาชีพหรือการกเงินของผู้กู้เป็นหลัก
กู้ซื้อบ้านใช่ว่าจะจบลงแล้วสำหรับขั้นตอนการมีบ้านในฝัน แต่จำเป็นต้องศึกษากระบวนการหลังจากกู้บ้าน ซึ่งมีทั้งเรื่องค่าธรรมเนียมและการตกแต่ง
ทันทีที่ LGBTQ ยื่นกู้ร่วมซื้อบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว อันดับต่อมาคือ เข้าสู่ขั้นตอนการโอนกรรมสิทธิ์บ้าน ณ กรมที่ดิน โดยมีส่วนที่ต้องเตรียมเอกสาร และจัดเตรียมค่าธรรมเนียม ค่าจดจำนอง ค่าอากรแสตมป์ ค่าภาษีเงินได้บุคคล และค่าภาษีธุรกิจโดยเฉพาะ ซึ่งบางโครงการมักจัดข้อเสนอพิเศษ ฟรีค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายวันโอน หรืออาจจ่ายคนละครึ่งกับผู้พัฒนาโครงการ
ภายหลังการซื้อบ้าน โอนกรรมสิทธิ์เรียบร้อย LGBTQ ที่คิดจะซื้อบ้าน จำเป็นจะต้องบริหารค่าใช้จ่ายต่างๆ หลังซื้อบ้านและคอนโด ไม่ว่าจะเป็นค่าส่วนกลาง หรือค่าใช้จ่ายในการกตกแต่ง ซึ่งสามารถบริหารได้ แบบไม่ให้มีภาระค่าใช้จ่ายหนักเกินไป นั้นคือการเลือกวิธีกู้ตกแต่ง โดยมี 2 ประเภทคือ
อัตราดอกเบี้ยบ้าน อัปเดต ปี 2567 ทั้งสินเชื่อบ้าน - คอนโด | แสนสิริ อ่านเพิ่มเติม >
รถไฟฟ้า MRT สายสีชมพู 30 สถานี เชื่อมต่ออะไรบ้าง มาอัปเดตกัน อ่านเพิ่มเติม >
คอนโดเลี้ยงสัตว์ได้ Pet friendly vs. Pet allowed ต่างกันตรงไหน | แสนสิริ อ่านเพิ่มเติม >
เช็กชื่อต้นไม้ สรรพคุณเด่น เติบโตร่ำรวย ปลูกง่ายแม้ในคอนโด | แสนสิริ อ่านเพิ่มเติม >
จัดโต๊ะหมู่บูชายังไงให้ถูกต้อง กับทิศทางการตั้งโต๊ะหมู่บูชา อ่านเพิ่มเติม >
กู้ซื้อบ้านยากไหม เตรียมตัวอย่างไรดีอยากซื้อบ้านแต่กลัวกู้ซื้อบ้านไม่ผ่าน วันนี้เราจะมาแนะนำเคล็ดลับกู้บ้านยังไงให้ผ่านฉลุย
คู่รัก LGBTQIAN+ อยากกู้ร่วมแต่กลัวไม่มีธนาคารไหนปล่อยกู้ ขอให้เปลี่ยนความคิดใหม่เมื่อรู้ 3 ธนาคารปล่อยสินเชื่อเอื้อกลุ่ม LGBTQIAN+ โดยเฉพาะ
เป็นนักธุรกิจ พ่อค้าแม่ค้า ฟรีแลนซ์ หรือคนทำงานต่างประเทศ ก็สามารถกู้บ้านผ่านง่าย เพียงรู้เทคนิคขั้นตอนตั้งแต่การเตรียมเอกสาร เลือกธนาคาร หรือแม้แต่เลือกอัตราดอกเบี้ย
กู้ซื้อบ้านยากไหม เตรียมตัวอย่างไรดีอยากซื้อบ้านแต่กลัวกู้ซื้อบ้านไม่ผ่าน วันนี้เราจะมาแนะนำเคล็ดลับกู้บ้านยังไงให้ผ่านฉลุย
คู่รัก LGBTQIAN+ อยากกู้ร่วมแต่กลัวไม่มีธนาคารไหนปล่อยกู้ ขอให้เปลี่ยนความคิดใหม่เมื่อรู้ 3 ธนาคารปล่อยสินเชื่อเอื้อกลุ่ม LGBTQIAN+ โดยเฉพาะ
อัตราดอกเบี้ยบ้าน อัปเดต ปี 2567 ทั้งสินเชื่อบ้าน - คอนโด | แสนสิริ อ่านเพิ่มเติม >
รถไฟฟ้า MRT สายสีชมพู 30 สถานี เชื่อมต่ออะไรบ้าง มาอัปเดตกัน อ่านเพิ่มเติม >
คอนโดเลี้ยงสัตว์ได้ Pet friendly vs. Pet allowed ต่างกันตรงไหน | แสนสิริ อ่านเพิ่มเติม >
เช็กชื่อต้นไม้ สรรพคุณเด่น เติบโตร่ำรวย ปลูกง่ายแม้ในคอนโด | แสนสิริ อ่านเพิ่มเติม >
จัดโต๊ะหมู่บูชายังไงให้ถูกต้อง กับทิศทางการตั้งโต๊ะหมู่บูชา อ่านเพิ่มเติม >